ประวัติการกีฬาแห่งประเทศไทยนับตั้งแต่กิจกรรมกีฬาสากลได้แพร่หลายในประเท การแปล - ประวัติการกีฬาแห่งประเทศไทยนับตั้งแต่กิจกรรมกีฬาสากลได้แพร่หลายในประเท ไทย วิธีการพูด

ประวัติการกีฬาแห่งประเทศไทยนับตั้งแ

ประวัติการกีฬาแห่งประเทศไทย
นับตั้งแต่กิจกรรมกีฬาสากลได้แพร่หลายในประเทศไทยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 เป็นต้นมา กีฬาสากลในประเทศไทยได้รับการส่งเสริมและเป็นที่สนใจของประชาชนอย่างกว้างขวางควบคู่กับกีฬาพื้นบ้านหรือกีฬาประเพณีมาโดยตลอด ในการดำเนินการกีฬาในสมัยนั้น ได้รับพระราชกิจจานุเบกษาว่าด้วยการส่งเสริมกีฬาเพื่อเป็นแนวทางการสนับสนุนการจัดการแข่งขันกีฬาตลอดจนการรับผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศมาช่วยเหลือการกีฬาในประเทศ เป็นต้น ทั้งนี้โดยมีกระทรวงธรรมการ หรือกระทรวงศึกษาธิการในปัจจุบันเป็นหน่วยงานที่ได้รับมอบเป็นผู้ดำเนินการ
กิจการกีฬาในประเทศไทยได้ขยายตัวอย่างกว้างขวาง กีฬาชนิดต่างๆได้รับความนิยมจากประชาชนอย่างแพร่หลาย การเข้าร่วมกิจกรรมกีฬาระหว่างประเทศในขณะนั้น เป็นการดำเนินงานของสมาคมกีฬา ยังไม่มีหน่วยงานกีฬาของรัฐให้การสนับสนุนเช่นเดียวกับนานาประเทศ การเข้าแข่งขันของทีมกีฬาไทยจึงมักจะประสบปัญหาด้านงบประมาณและไม่บรรลุผลเท่าที่ควร ด้วยเหตุนี้ บุคคลในวงการกีฬาของไทยในสมัยนั้น ประกอบด้วยข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ที่สนใจในกีฬาและเป็นผู้ก่อตั้งสมาคมกีฬาต่างๆ และคณะกรรมการโอลิมปิคแห่งประเทศไทย อาทิ พระยาจินดารักษ์ ,หลวงสุขุมนัยประดิษฐ์ ,นายกัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยา , นายโฉลก โกมารกุล ณ นคร, นายวิลาศ บุนนาค, นายสวัสดิ์ เลขยายนนท์ และนายกอง วิสุทธารมณ์ ได้มีความเห็นพ้องต้องกันว่า ประเทศไทยควรมีหน่วยงานที่รับผิดชอบการกีฬาของประเทศในภาครัฐบาลขึ้นโดยเฉพาะ เพื่อทำหน้าที่ด้านนโยบายของประเทศ ตลอดจนดูแลและประสานงานส่งเสริมกีฬาระดับประชาชน ให้ประชาชนได้เล่นกีฬาอย่างกว้างขวาง และมีโอกาสคัดเลือกนักกีฬาที่มีศักยภาพไปแข่งขันกับต่างประเทศ
ในปี 2507 ความพยายามที่จะก่อตั้งองค์การกีฬาระดับรัฐเป็นผลสำเร็จ เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรจัดตั้งองค์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทย อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 3 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการจัดตั้งองค์การของรัฐบาล พ.ศ.2496 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทย พ.ศ.2507 ขึ้น เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2507 (เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ เนื่องจากกีฬาเป็นสิ่งสำคัญยิ่งอย่างหนึ่งในการสร้างเสริมพลังกายและกำลังใจของบุคคลให้รู้จักตัดสินใจในทางที่ถูกที่ควร เป็นการเผยแพร่ให้ประเทศไทยเป็นที่รู้จักแก่ชาวโลก และเป็นเหตุหนึ่งที่ก่อให้เกิดความผูกพันทางมิตรภาพระหว่างประเทศ แต่ขณะนี้กีฬาของประเทศไทยยังไม่ก้าวหน้าเท่าที่ควร จำเป็นต้องเร่งรีบส่งเสริมให้ทัดเทียมนานาประเทศ โดยสนับสนุนให้เกิดความสนใจและนิยมกีฬามากยิ่งขึ้น อีกประการหนึ่งคณะกรรมการเกี่ยวกับกีฬาต่าง ๆ ยังกระจัดกระจายกันอยู่ การดำเนินงานไม่สะดวกและรวดเร็วตามต้องการ สมควรต้องมีองค์การรับผิดชอบโดยเฉพาะขึ้น เพื่ออำนวยบริการแก่ประชาชน) โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้
1. ส่งเสริมกีฬา
2. ช่วยเหลือ แนะนำ และร่วมมือในการจัดและดำเนินการกีฬาสมัครเล่น
3. สำรวจ จัดสร้าง และบูรณะสถานที่สำหรับกีฬาสมัครเล่น
4. ติดต่อร่วมมือกับองค์การหรือสมาคมกีฬาสมัครเล่น ทั้งในและนอกราชอาณาจักร
5. ประกอบธุรกิจอื่น ๆ อันเกี่ยวแก่หรือเพื่อประโยชน์ของกีฬาสมัครเล่น
6. เสนอแนะแก่หน่วยราชการ หรือองค์การของรัฐบาลในเรื่องกีฬาเพื่อปรับปรุงแก้ไขหรือชักจูงเร่งเร้าให้เกิดความนิยมในกีฬาอย่างกว้างขวาง
7. เสาะแสวงหาและรวบรวมหลักฐานต่าง ๆ จากหน่วยราชการองค์การของรัฐบาลหรือเอกชน เพื่อประโยชน์ในการจัดทำสถิติเกี่ยวแก่กีฬ่าสมัครเล่น
เพื่อดำเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ดังกล่าว ให้ อ.ส.ก.ท.มีอำนาจรวมถึง การสอดส่องและควบคุมการดำเนินกิจการกีฬาสมัครเล่น เพื่อป้องกันมิให้เกิดอันตรายแก่ผู้เล่นกีฬา หรือเกิดความเสียหาย หรือเป็นภัยแก่ประเทศชาติด้วย
องค์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทย (อ.ส.ก.ท.) เป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี บริหารงานโดยคณะกรรมการองต์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทย ซึ่งคณะรัฐมนตรีเป็นผู้แต่งตั้ง มีผู้อำนวยการ อ.ส.ก.ท.ซึ่งคณะกรรมการแต่งตั้งเป็นกรรมการเพื่อดำเนินกิจการของ อ.ส.ก.ท. และมีหลวงสุขุมนัยประดิษฐ เลขาธิการสำนักงาน ก.พ. ซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งสมาคมกีฬาหลายแห่ง ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้อำนวยการองค์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทย (อ.ส.ก.ท.) คนแรก
องค์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทยในยุคแรกเริ่ม ยังไม่มีสำนักงานหรือที่ทำการของตนเอง ได้อาศัยสระว่ายน้ำโอลิมปิคของกรมพลศึกษาในบริเวณสถานกีฬาแห่งชาติเป็นที่ทำการชั่วคราว ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2507 – 9 มีนาคม 2511 เป็นเวลานานถึง 4 ปี ก่อนจะย้ายไปอยู่ที่สำนักงานแห่งใหม่ที่สนามกีฬาหัวหมาก
แม้ว่าองค์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทย จะยังไม่มีอาคารที่ทำการถาวร แต่ไม่เป็นอุปสรรคในการปฏิบัติภารกิจเพื่อสนองนโยบายของรัฐในด้านการกีฬา โดยได้รับผิดชอบกิจการกีฬาของชาติตามขอบเขตและวัตถุประสงค์ ทั้งระดับในประเทศและระหว่างประเทศ ในส่วนกีฬาระหว่างประเทศภารกิจแรกที่ อ.ส.ก.ท.ได้รับมอบหมายจากรัฐบาลในสมัยนั้น คือ เป็นสำนักเลขาธิการคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาเอเชี่ยนเกมส์ ครั้งที่ 5 ที่ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพในปี 2509
ภายหลังการแข่งขันเอเชี่ยนเกมส์ ครั้งที่ 5 ในปี 2509 สิ้นสุดลง คณะรัฐมนตรีในการประชุมเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2510 ได้รับทราบสรุปรายงานการแข่งขันกีฬาเอเชี่ยนเกมส์ ครั้งที่ 5 และมีมติมอบสถานกีฬาและที่ดินในบริเวณสถานกีฬาหัวหมากทั้งหมด ซึ่งมีพื้นที่รวม 265.452 ไร่ ให้ อ.ส.ก.ท.เป็นผู้ดูแลรักษา และเมื่อได้รับมอบหมายให้ดูแลสถานกีฬาดังกล่าว อ.ส.ก.ท.ยังต้องจัดซื้อที่ดินที่มีปัญหาติดค้างมาจากการเวณคืนที่ 1 แปลง ซึ่งเป็นพื้นที่ดินที่อยู่ในเขตกีฬาด้านหน้า มีเนื้อที่จำนวน 4 ไร่ 96 ตารางวา (ด้วยเงินงบประมาณประจำปี 2511 จำนวน 280,000 บาท) สถานกีฬาหัวหมากจึงมีพื้นที่รวมทั้งสิ้นเป็นจำนวน ประมาณ 270 ไร่ ตั้งแต่นั้นมา
องค์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทย (อ.ส.ก.ท.) จึงได้ย้ายที่ทำการชั่วคราวจากอาคารสระว่ายน้ำ โอลิมปิคในกรีฑาสถานแห่งชาติ มาตั้งสำนักงานที่อินดอร์สเตเดี้ยม สนามกีฬาหัวหมาก ตั้งแต่วันที่ 10 มีนาคม 2511 และเนื่องจากมีความจ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติการกีฬาแห่งประเทศไทยนับตั้งแต่กิจกรรมกีฬาสากลได้แพร่หลายในประเทศไทยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 เป็นต้นมา กีฬาสากลในประเทศไทยได้รับการส่งเสริมและเป็นที่สนใจของประชาชนอย่างกว้างขวางควบคู่กับกีฬาพื้นบ้านหรือกีฬาประเพณีมาโดยตลอดในการดำเนินการกีฬาในสมัยนั้น ได้รับพระราชกิจจานุเบกษาว่าด้วยการส่งเสริมกีฬาเพื่อเป็นแนวทางการสนับสนุนการจัดการแข่งขันกีฬาตลอดจนการรับผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศมาช่วยเหลือการกีฬาในประเทศเป็นต้น ทั้งนี้โดยมีกระทรวงธรรมการหรือกระทรวงศึกษาธิการในปัจจุบันเป็นหน่วยงานที่ได้รับมอบเป็นผู้ดำเนินการกิจการกีฬาในประเทศไทยได้ขยายตัวอย่างกว้างขวาง กีฬาชนิดต่างๆได้รับความนิยมจากประชาชนอย่างแพร่หลาย การเข้าร่วมกิจกรรมกีฬาระหว่างประเทศในขณะนั้น เป็นการดำเนินงานของสมาคมกีฬา ยังไม่มีหน่วยงานกีฬาของรัฐให้การสนับสนุนเช่นเดียวกับนานาประเทศ การเข้าแข่งขันของทีมกีฬาไทยจึงมักจะประสบปัญหาด้านงบประมาณและไม่บรรลุผลเท่าที่ควร ด้วยเหตุนี้ บุคคลในวงการกีฬาของไทยในสมัยนั้น ประกอบด้วยข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ที่สนใจในกีฬาและเป็นผู้ก่อตั้งสมาคมกีฬาต่างๆ และคณะกรรมการโอลิมปิคแห่งประเทศไทย อาทิ พระยาจินดารักษ์ ,หลวงสุขุมนัยประดิษฐ์ ,นายกัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยา , นายโฉลก โกมารกุล ณ นคร, นายวิลาศ บุนนาค, นายสวัสดิ์ เลขยายนนท์ และนายกอง วิสุทธารมณ์ ได้มีความเห็นพ้องต้องกันว่า ประเทศไทยควรมีหน่วยงานที่รับผิดชอบการกีฬาของประเทศในภาครัฐบาลขึ้นโดยเฉพาะ เพื่อทำหน้าที่ด้านนโยบายของประเทศ ตลอดจนดูแลและประสานงานส่งเสริมกีฬาระดับประชาชน ให้ประชาชนได้เล่นกีฬาอย่างกว้างขวาง และมีโอกาสคัดเลือกนักกีฬาที่มีศักยภาพไปแข่งขันกับต่างประเทศในปี 2507 ความพยายามที่จะก่อตั้งองค์การกีฬาระดับรัฐเป็นผลสำเร็จ เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรจัดตั้งองค์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทย อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 3 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการจัดตั้งองค์การของรัฐบาล พ.ศ.2496 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทย พ.ศ.2507 ขึ้น เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2507 (เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ เนื่องจากกีฬาเป็นสิ่งสำคัญยิ่งอย่างหนึ่งในการสร้างเสริมพลังกายและกำลังใจของบุคคลให้รู้จักตัดสินใจในทางที่ถูกที่ควร เป็นการเผยแพร่ให้ประเทศไทยเป็นที่รู้จักแก่ชาวโลก และเป็นเหตุหนึ่งที่ก่อให้เกิดความผูกพันทางมิตรภาพระหว่างประเทศ แต่ขณะนี้กีฬาของประเทศไทยยังไม่ก้าวหน้าเท่าที่ควร จำเป็นต้องเร่งรีบส่งเสริมให้ทัดเทียมนานาประเทศ โดยสนับสนุนให้เกิดความสนใจและนิยมกีฬามากยิ่งขึ้น อีกประการหนึ่งคณะกรรมการเกี่ยวกับกีฬาต่าง ๆ ยังกระจัดกระจายกันอยู่ การดำเนินงานไม่สะดวกและรวดเร็วตามต้องการ สมควรต้องมีองค์การรับผิดชอบโดยเฉพาะขึ้น เพื่ออำนวยบริการแก่ประชาชน) โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้1. ส่งเสริมกีฬา2. ช่วยเหลือแนะนำและร่วมมือในการจัดและดำเนินการกีฬาสมัครเล่น3. สำรวจจัดสร้างและบูรณะสถานที่สำหรับกีฬาสมัครเล่น4. ติดต่อร่วมมือกับองค์การหรือสมาคมกีฬาสมัครเล่นทั้งในและนอกราชอาณาจักร5. ประกอบธุรกิจอื่นๆ อันเกี่ยวแก่หรือเพื่อประโยชน์ของกีฬาสมัครเล่น6. เสนอแนะแก่หน่วยราชการหรือองค์การของรัฐบาลในเรื่องกีฬาเพื่อปรับปรุงแก้ไขหรือชักจูงเร่งเร้าให้เกิดความนิยมในกีฬาอย่างกว้างขวาง7. เสาะแสวงหาและรวบรวมหลักฐานต่างๆ จากหน่วยราชการองค์การของรัฐบาลหรือเอกชนเพื่อประโยชน์ในการจัดทำสถิติเกี่ยวแก่กีฬ่าสมัครเล่นเพื่อดำเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ดังกล่าวให้อ.ส.ก.ท.มีอำนาจรวมถึงการสอดส่องและควบคุมการดำเนินกิจการกีฬาสมัครเล่นเพื่อป้องกันมิให้เกิดอันตรายแก่ผู้เล่นกีฬา หรือเกิดความเสียหายหรือเป็นภัยแก่ประเทศชาติด้วยบริหารงานโดยคณะกรรมการองต์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทยสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรีเป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจองค์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทย (อ.ส.ก.ท.) ซึ่งคณะรัฐมนตรีเป็นผู้แต่งตั้งมีผู้อำนวยการอ.ส.ก.ท.ซึ่งคณะกรรมการแต่งตั้งเป็นกรรมการเพื่อดำเนินกิจการของอ.ส.ก.ท. และมีหลวงสุขุมนัยประดิษฐเลขาธิการสำนักงานก.พ คนแรกซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งสมาคมกีฬาหลายแห่งได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้อำนวยการองค์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทย (อ.ส.ก.ท.)องค์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทยในยุคแรกเริ่มยังไม่มีสำนักงานหรือที่ทำการของตนเองได้อาศัยสระว่ายน้ำโอลิมปิคของกรมพลศึกษาในบริเวณสถานกีฬาแห่งชาติเป็นที่ทำการชั่วคราว ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2507 – 9 มีนาคมปีพ.ศ.เป็นเวลานานถึง 4 ปีก่อนจะย้ายไปอยู่ที่สำนักงานแห่งใหม่ที่สนามกีฬาหัวหมากแม้ว่าองค์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทยจะยังไม่มีอาคารที่ทำการถาวรแต่ไม่เป็นอุปสรรคในการปฏิบัติภารกิจเพื่อสนองนโยบายของรัฐในด้านการกีฬา โดยได้รับผิดชอบกิจการกีฬาของชาติตามขอบเขตและวัตถุประสงค์ทั้งระดับในประเทศและระหว่างประเทศในส่วนกีฬาระหว่างประเทศภารกิจแรกที่อ.ส.ก.ท.ได้รับมอบหมายจากรัฐบาลในสมัยนั้น คือเป็นสำนักเลขาธิการคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาเอเชี่ยนเกมส์ครั้งที่ 5 ที่ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพในปี 2509ภายหลังการแข่งขันเอเชี่ยนเกมส์ ครั้งที่ 5 ในปี 2509 สิ้นสุดลง คณะรัฐมนตรีในการประชุมเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2510 ได้รับทราบสรุปรายงานการแข่งขันกีฬาเอเชี่ยนเกมส์ ครั้งที่ 5 และมีมติมอบสถานกีฬาและที่ดินในบริเวณสถานกีฬาหัวหมากทั้งหมด ซึ่งมีพื้นที่รวม 265.452 ไร่ ให้ อ.ส.ก.ท.เป็นผู้ดูแลรักษา และเมื่อได้รับมอบหมายให้ดูแลสถานกีฬาดังกล่าว อ.ส.ก.ท.ยังต้องจัดซื้อที่ดินที่มีปัญหาติดค้างมาจากการเวณคืนที่ 1 แปลง ซึ่งเป็นพื้นที่ดินที่อยู่ในเขตกีฬาด้านหน้า มีเนื้อที่จำนวน 4 ไร่ 96 ตารางวา (ด้วยเงินงบประมาณประจำปี 2511 จำนวน 280,000 บาท) สถานกีฬาหัวหมากจึงมีพื้นที่รวมทั้งสิ้นเป็นจำนวน ประมาณ 270 ไร่ ตั้งแต่นั้นมาองค์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทย (อ.ส.ก.ท.) จึงได้ย้ายที่ทำการชั่วคราวจากอาคารสระว่ายน้ำโอลิมปิคในกรีฑาสถานแห่งชาติมาตั้งสำนักงานที่อินดอร์สเตเดี้ยมสนามกีฬาหัวหมาก ตั้งแต่วันที่ 10 มีนาคมปีพ.ศ.และเนื่องจากมีความจ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติการกีฬาแห่งประเทศไทย
นับตั้งแต่กิจกรรมกีฬาสากลแพร่หลายได้ในประเทศไทยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระ, Staff หัวรัชกาลเจ้าอยู่ที่มากีฬา 5 เป็นต้นสากลในประเทศไทยได้รับการส่งเสริมและเป็นของที่สนใจประชาชนอย่างกว้างขวางควบคู่กับกีฬากีฬาพื้นบ้านหรือ ประเพณีมาโดยตลอดในการดำเนินการกีฬาในสมัยนั้นได้รับพระราชกิจจานุเบกษาว่าด้วยการส่งเสริมกีฬาเพื่อเป็นแนวทางการสนับสนุนการจัดการแข่งขันกีฬาตลอดจนการรับผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศมาช่วยเหลือการกีฬาในประเทศเป็นต้นทั้งนี้โดยมีกระทรวงธรรม ปัจจุบันในการเป็นกระทรวงศึกษาธิการหรือหน่วยงานที่ได้รับการมอบเป็นผู้ดำเนิน
กิจการในประเทศไทยได้กีฬากีฬาขยายตัวอย่างกว้างขวางชนิดต่างๆได้รับความนิยมจากประชาชนอย่างแพร่หลายการเข้าส่วนตัวกิจกรรมกีฬาระหว่างประเทศในงานของขณะนั้นเป็นการดำเนิน สมาคมกีฬายังไม่มีหน่วยงานกีฬาของรัฐให้การสนับสนุนเช่นเดียวกับนานาประเทศการเข้าแข่งขันของทีมกีฬาไทยจึงมักจะประสบปัญหาด้านงบประมาณและไม่บรรลุผลเท่าที่ควรด้วยเหตุนี้บุคคลในวงการกีฬาของไทยในสมัยนั้น ประกอบด้วยข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ที่สนใจในกีฬาและเป็นผู้ก่อตั้งสมาคมกีฬาต่างๆและคณะกรรมการโอลิมปิคแห่งประเทศไทยอาทิพระยาจินดารักษ์, หลวงสุขุมนัยประดิษฐ์, นายกัลย์อิศรเสนา ณ อยุธยา, นายโฉลกโกมารกุล ณ นคร, นายวิลาศ บุนนาค, นายสวัสดิ์เลขยายนนท์และนายกองวิสุทธารมณ์ได้มีความเห็นพ้องต้องกันว่าประเทศไทยควรมีหน่วยงานที่รับผิดชอบการกีฬาของประเทศในภาครัฐบาลขึ้นโดยเฉพาะเพื่อทำหน้าที่ด้านนโยบายของประเทศตลอดจน ดูแลและประสานงานส่งเสริมกีฬาระดับประชาชนให้ได้เล่นกีฬาประชาชนอย่างกว้างขวางและมีโอกาสคัดเลือกนักกีฬาที่มีศักยภาพแข่งขันไปกับต่างประเทศ
ในความพยายาม 2,507 ปีที่จะเป็นรัฐระดับก่อตั้งองค์การกีฬาผลสำเร็จเมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯให้ประกาศว่าโดยที่เป็นการสมควรจัดตั้งองค์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทยอาศัยอำนาจตามความในมาตรา 3 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการจัดตั้งองค์การของรัฐบาล พ.ศ. 2496 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ตราพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การส่งเสริมกีฬาแห่ง ประเทศไทย พ.ศ. 2507 ขึ้นเมื่อวันที่ 12 กันยายน 2507 (เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้คือเนื่องจากกีฬาเป็นสิ่งสำคัญยิ่งอย่างหนึ่งในการสร้างเสริมพลังกายและกำลังใจของบุคคลให้รู้จักตัดสินใจในทางที่ถูกที่ควร เป็นการเผยแพร่ให้ประเทศไทยเป็นที่รู้จักแก่ชาวโลกและเป็นเหตุหนึ่งที่ก่อให้เกิดความผูกพันทางมิตรภาพระหว่างประเทศ แต่ขณะนี้กีฬาของประเทศไทยยังไม่ก้าวหน้าเท่าที่ควรจำเป็นต้องเร่งรีบส่งเสริมให้ทัดเทียมนานาประเทศโดยสนับสนุนให้เกิดความสนใจ นิยมกีฬาและขึ้นอีกมากยิ่งประการหนึ่งเกี่ยวกับกีฬาคณะกรรมการกระจัดกระจายต่าง ๆ กันยังไม่อยู่สะดวกงานและการดำเนินรวดเร็วตามต้องการสมควรต้องมีองค์การรับผิดชอบโดยเฉพาะขึ้นเพื่ออำนวยบริการแก่ประชาชน) โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้
1. ส่งเสริม กีฬา
2. ช่วยเหลือแนะนำและร่วมมือในการจัดและการกีฬาดำเนินสมัครเล่น
3. สำรวจและจัดสร้างบูรณะสถานสมัครเล่นกีฬาที่สำหรับ
ติดต่อสัมพันธ์กับ 4. กับองค์การหรือสมัครเล่นกีฬาสมาคมนอกทั้งในและราชอาณาจักร
5. ประกอบธุรกิจ อันเกี่ยวแก่หรืออื่น ๆ ของเพื่อประโยชน์สมัครเล่นกีฬา
6. เสนอแนะแก่หน่วยราชการรัฐบาลในเรื่องของหรือองค์การกีฬาเพื่อปรับปรุงแก้ไขหรือชักจูงเร่งเร้านิยมให้ความในเกิดกีฬาอย่างกว้างขวาง
7. เสาะแสวงหาและต่าง ๆ จากรวบรวมหลักฐาน หน่วยราชการองค์การของรัฐบาลหรือเอกชนเพื่อประโยชน์ในการจัดทำสถิติเกี่ยวแก่กีฬ่าสมัครเล่น
เพื่อการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ดำเนินดังกล่าวให้อ. ส. ก. ท. มีการอำนาจรวมถึงสอดส่องและควบคุมการดำเนินกิจการ สมัครเล่นกีฬาเพื่อป้องกันมิให้เกิดอันตรายแก่ผู้เล่นกีฬาหรือเกิดความเป็นภัยหรือการตลาดแก่ประเทศชาติด้วย
องค์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทย (อ.ส.ก.ท. ) เป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรีบริหารงานโดยคณะกรรมการ องต์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทยซึ่งคณะรัฐมนตรีเป็นผู้แต่งตั้งมีผู้อำนวยการอ. ส. ก. ท. ซึ่งคณะกรรมการแต่งตั้งเป็นกรรมการเพื่อดำเนินกิจการของ อ.ส.ก.ท. และมีหลวงสุขุมนัยประดิษฐเลขาธิการสำนักงาน ก.พ. ซึ่งก่อตั้งสมาคมเป็นผู้ได้รับการกีฬาแห่งหลายแต่งตั้งเป็นผู้อำนวยการกีฬาแห่งประเทศไทยองค์การส่งเสริม (อ.ส.ก.ท. ) คนแรก
องค์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทยในยุคแรกเริ่มหรือยังไม่มีสำนักงาน ที่ทำการของตนเองได้อาศัยสระว่ายน้ำโอลิมปิคของกรมพลศึกษาในบริเวณสถานกีฬาแห่งชาติเป็นที่ทำการชั่วคราวตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2507-9 มีนาคม 2511 เป็นเวลานานถึง 4 ปีก่อนจะย้ายไปอยู่ที่สำนักงานแห่งใหม่ที่สนามกีฬา หัวหมาก
แม้ว่าองค์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทยจะยังไม่มีอาคารที่ทำการถาวร แต่ไม่เป็นอุปสรรคในการปฏิบัติภารกิจเพื่อสนองนโยบายรัฐของการกีฬาโดยได้รับผิดชอบในด้านกีฬาและกิจการของชาติตามขอบเขตวัตถุประสงค์ทั้งในระดับประเทศและระหว่างประเทศในส่วน กีฬาระหว่างประเทศภารกิจแรกที่อ. ส. ก. ท. ได้รับมอบหมายจากรัฐบาลในสมัยนั้นคือเป็นสำนักเลขาธิการคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาเอเชี่ยนเกมส์ครั้งที่ 5 ปีที่ในประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ 2509
ภายหลังการแข่งขันเอเชี่ยนเกมส์ครั้งที่ 5 ใน ปี 2509 สิ้นสุดลงคณะรัฐมนตรีในการประชุมเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2510 ได้รับทราบสรุปรายงานการแข่งขันกีฬาเอเชี่ยนเกมส์ครั้งที่ 5 และมีมติมอบสถานกีฬาและที่ดินในบริเวณสถานกีฬาหัวหมากทั้งหมดซึ่งมีพื้นที่รวม 265.452 ไร่ให้อส. . ก. ท. เป็นผู้ดูแลรักษาและเมื่อได้รับมอบหมายให้ดูแลสถานกีฬาดังกล่าวอ. ส. ก. ท. ยังต้องจัดซื้อที่ดินที่มีปัญหาติดค้างมาจากการเว ณ คืนที่ 1 แปลงซึ่งเป็นพื้นที่ ดินที่อยู่ในเขตกีฬาด้านหน้ามีเนื้อที่จำนวน 4 ไร่ 96 ตารางวา (ด้วยเงินงบประมาณประจำปี 2511 จำนวน 280,000 บาท) สถานพื้นที่รวมกีฬาหัวหมากจึงมีจำนวนประมาณทั้งสิ้นเป็นมา 270 ไร่ตั้งแต่นั้น
องค์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทย (อ ส.ก.ท. ) จึงได้ย้ายที่ทำการชั่วคราวจากอาคารสระว่ายน้ำโอลิมปิคในกรีฑาสถานแห่งชาติมาตั้งสำนักงานที่อินดอร์สเตเดี้ยมสนามกีฬาหัวหมากตั้งแต่วันที่ 10 มีนาคม 2511 และเนื่องจากมีความจ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
人们广泛的运动。运动员选择和机会的潜在竞争与外国
ประวัติการกีฬาแห่งประเทศไทยฮ่านับตั้งแต่กิจกรรมกีฬาสากลได้แพร่หลายในประเทศไทยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 เป็นต้นมาในการดำเนินการกีฬาในสมัยนั้นได้รับพระราชกิจจานุเบกษาว่าด้วยการส่งเสริมกีฬาเพื่อเป็นแนวทางการสนับสนุนการจัดการแข่งขันกีฬาตลอดจนการรับผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศมาช่วยเหลือการกีฬาในประเทศเป็นต้นหรือกระทรวงศึกษาธิการในปัจจุบันเป็นหน่วยงานที่ได้รับมอบเป็นผู้ดำเนินการฮ่ากิจการกีฬาในประเทศไทยได้ขยายตัวอย่างกว้างขวางกีฬาชนิดต่างๆได้รับความนิยมจากประชาชนอย่างแพร่หลายการเข้าร่วมกิจกรรมกีฬาระหว่างประเทศในขณะนั้นเป็นการดำเนินงานของสมาคมกีฬาการเข้าแข่งขันของทีมกีฬาไทยจึงมักจะประสบปัญหาด้านงบประมาณและไม่บรรลุผลเท่าที่ควรด้วยเหตุนี้บุคคลในวงการกีฬาของไทยในสมัยนั้นประกอบด้วยข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ที่สนใจในกีฬาและเป็นผู้ก่อตั้งสมาคมกีฬาต่างๆอาทิพระยาจินดารักษ์และหลวงสุขุมนัยประดิษฐ์และนายกัลย์อิศรเสนาณอยุธยาและนายโฉลกโกมารกุลณนครและนายวิลาศบุนนาคและ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2025 I Love Translation. All reserved.

E-mail: